lesson economic calendar
lesson economic calendar

วิธีดูปฏิทินข่าวเศรษฐกิจ ความสำคัญ วันที่ประกาศ

Non farm Payrolls

ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐ ประกาศทุกวันศุกร์แรกของเดือน ความสำคัญสูงมาก ประกาศทุกวันศุกร์แรกของเดือน

Unemployment Rate 

ตัวเลขสรุปอัตราการว่างงานของสหรัฐ

ความสำคัญสูงมาก ประกาศทุกวันศุกร์แรกของเดือน (อาจเลื่อนไปในวันศุกร์ถัดไป)

Trade Balance

ดุลการค้า เป็นตัวเลขของ 2 เดือนที่แล้ว

ความสำคัญสูง วันที่ 20 ของเดือน

GDP ( Gross Domestic Production )

ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ

ความสำคัญสูงมาก ทุก ๆ สัปดาห์ที่ 3 หรือ 4 ของเดือน

PCE Price Deflator

ดัชนีวัดค่าใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล

ความสำคัญสูง วันแรกของการทำงานในแต่ละเดือน

CPI ( Consumer Price index )

ดัชนีราคาผู้บริโภค

ความสำคัญสูง  ทุกวันที่ 13 ของเดือน

TICS ( Treasury International Capital System )

ระดับการลงทุนในประเทศสหรัฐฯ

ความสำคัญสูง ทุกวันที่ 5 ในการทำงานของเดือน

FOMC ( Federal open Market committee meeting )

การประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (Fad)

ความสำคัญสูง ไม่ได้กำหนดตายตัว

Retail Sales

ดัชนีการค้าปลีก (ข้อมูลเดือนที่แล้ว )

ความสำคัญสูง ทุกวันที่ 13 ของเดือน

Univ. Of Michigan Consumer Sentiment Survey

การสำรวจความเชื่อมั่นของผู้บริโภค

ความสำคัญสูง ทุกวันศุกร์ที่สองของเดือน

PPI ( Producer Price Index )

ดัชนีราคาผู้ผลิต (ข้อมูลเดือนที่แล้ว )

ความสำคัญสูง ทุกวันที่ 11 ของเดือน 

Weekly Jobless Claims

จำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรก

ปานกลาง ทุกๆ วันพฤหัส

Personal Income

ดัชนีวัดรายได้ส่วนบุคคล

ปานกลาง ทุกวันที่ 5 ในการทำงานของเดือน

Personal spending

ดัชนีรายจ่ายส่วนบุคคล

ปานกลาง วันแรกของการทำงานในแต่ละเดือน

BOE Rate Decision ( Bank Of England )

การประกาศอัตราดอกเบี้ยประเทศอังกฤษ

ปานกลาง ไม่ได้กำหนด

ECB Rate Decision ( Europe Central Bank ) 

การประกาศอัตราดอกเบี้ยสหภาพยุโรป ปานกลาง ไม่ได้กำหนด

BOJ Rate Decision ( Bank Of Japan )

การประกาศอัตราดอกเบี้ยประเทศญี่ปุ๋น ปานกลาง ไม่ได้กำหนด

ISM Manufacturing Index ( Institute of Supply Manager ) 

ดัชนีชี้วัดการจัดซื้อ ปานกลาง วันแรกของการทำงานในแต่ละเดือน

Philadelphia Fed. Survey

การสำรวจสภาพเศรษฐกิจโดยธนาคารกลางสหรัฐ ปานกลาง ช่างวันพฤหัสบดีที่ 3 ของเดือน

ISM Non-Manufacturing Index

ดัชนีวัดสภาวะโดยรวมในภาคการบริการ ปานกลาง ช่วงวันที่ 3 ในการทำงานของเดือน

Factory Orders

มูลค่ารวมของการสั่งซื้อสินค้าจากโรงงานอุตสาหกรรม ปานกลาง วันแรกของการทำงานในแต่ละเดือน

Industrial Production & Capacity Utilization

ดัชนีชี้วัดการผลิตภาคอุตสาหกรรม ปานกลาง ช่วงกลางเดือน

Non-Farm Productivity

ดัชนีวัดผลผลิตนอกภาคเกษตร ปานกลาง ช่วงวันที่ 7 ของเดือน

Current Account Balance

ดุลบัญชีเดินสะพัด ปานกลาง ช่วงวันที่ 7 ของเดือน

Consumer Confidence ( Consumer Sentiment ) 

ดัชนีวัดความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ปานกลาง วันอังคารสุดท้ายของเดือน

NY Empire State Index – ( New York Empire Index ) 

ตัวบ่งชี้ทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค ปานกลาง ช่วงกลางเดือน

Leading Indicators

ดัชนีชี้วัดสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ปานกลาง ในช่วง 2 หรือ 3วันแรกของเดือน

Business Inventories

ยอดสินค้าคงคลังภาคธุรกิจพร้อมขาย ปานกลาง ช่วงกลางเดือน

IFO Business Index ( Institute of IFO in Germany)

ดัชนีวัดสภาวะในภาคธุรกิจของเยอรมนี ปานกลาง สัปดาห์สุดท้ายของเดือน

Housing Starts

น้อย ไม่ได้กำหนด

Existing Home sales

น้อย ไม่ได้กำหนด

New Home Sales

น้อย ไม่ได้กำหนด

Auto and Truck sales

น้อย ไม่ได้กำหนด

Employee Cost Index – Labor Cost Index

น้อย ไม่ได้กำหนด

M2 Money Supply – Money Cost

น้อย ไม่ได้กำหนด

Construction Spending

น้อย ไม่ได้กำหนด

Treasury Budget

น้อย ไม่ได้กำหนด

Weekly Chain Stores – Beige Book -Red Book

น้อย ไม่ได้กำหนด

Whole Sales Trade

น้อย ไม่ได้กำหนด

NAPM ( National Association of Purchasing Management)

น้อย ไม่ได้กำหนด

 ข้อที่ควรจำในการเทรดตามข่าว

  • ข่าวสีแดงมีระดับความแรงสูง ต้องให้ความระมัดระวัง
  • ข่าวสีส้มจะมีระดับความแรงปานกลางมีผลให้กราฟขยับไม่มากนัก
  • ข่าวสีเหลืองจะมีระดับความแรงน้อยหรือแทบไม่มีผล

ตัวเลขเศรษฐกิจที่ประกาศจะกระทบโดยตรงกับ 2 อย่างคือ

  1. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
  2. ราคาน้ำมัน

ราคาทองคำจะขึ้นหรือลงตัวแปลสำคัญคือ

  1. อัตราแลกเปลี่ยนของ USD  ( USD แข็ง = ทองคำลง, USD อ่อน = ทองคำขึ้น)
  2.  ราคาน้ำมัน (น้ำมันขึ้น = ทองขึ้น น้ำมันลง = ทองลง
  3. ราคาของโลหะพื้นฐาน และ โลหะอื่น พวก ทองแดง เงิน แพตตินั่ม พาลาเดียม
  4. ข่าวเศรษฐกิจทั่วไปอย่างเช่น ความต้องการทองคำในบางประเทศ, นโยบายของรัฐบาลในบางประเทศ เป็นต้น

 โดยปกติการปรับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางจะคำนึงถึง 2 อย่างคือ

  1. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (อาจจะอ่อนไป หรือแข็งไป)
  2. อัตราเงินเฟ้อ และเงินฝืด
lesson 10 economic calendar forex ประเทศไทย forexinthai
ตัวอย่างข่าว

www.ryt9.com/ (เว็บไทย)    www.netdania.com

www.forexfactory.com       www.dailyfx.com

www.investing.com       www.bloomberg.com

www.forexlive.com           www.reuters.com

www.bls.gov